บทสวดมนต์ถวายรักษาธาตุขันธ์องค์พ่อแม่ครูอาจารย์ 01
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 เวลา 0:01 น.
สถานที่ : ไม่ระบุ
ดาวน์โหลดเพื่อเก็บไว้ในเครื่อง
ให้คลิกขวาแล้วเลือก Save target as .. จาก link ต่อไปนี้ :
ข้อมูลเสียงแบบ(Win)   ข้อมูลเสียงแบบ(MP3)

ค้นหา :

ขอเชิญสวดมนต์พร้อมกันทั่วประเทศ

ในเวลา 13.00 น.และเวลา 19.00 น.ทุกวัน

เพื่อเป็นพลังบุญที่ยิ่งใหญ่

น้อมถวายธาตุขันธ์องค์พ่อแม่ครูอาจารย์

หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน

 

พระหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน

หมายเหตุ : จังหวัดอุดรธานี

-  เวลา 13.00 น. สวดที่ศาลาใหญ่วัดป่าบ้านตาด

-  เวลา 19.00 น. สวดที่ลานเจดีย์วัดโพธิสมภรณ์

วิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน FM 103.25 เมกกะเฮิกซ์

-  เวลา 13.00 น. และ 20.00 น. หลังทำวัตรเย็นทุกวัน

 

 

1

การสวดมนต์ ของหลวงปู่มั่นนั้น ท่านสวดมาก สวดนานเป็นชั่วโมงๆ และสวดเป็นประจำทุกคืนมิได้ขาด สูตรยาวๆ เช่น ธรรมจักร (ธัมมจักรกัปปวัตตนสูตร) และมหาสมัย ท่านสวดเป็นประจำ ในกรณีพิเศษ เช่น เมื่อคราวท่านกับหลวงปู่เสาร์ไปวิเวกที่ท่าแขก ฝั่งประเทศลาว และชาวบ้านเกิดโรคฝีดาษกันทั้งหมู่บ้าน ท่านแผ่เมตตาใหญ่ในรอบ ๒๔ ชั่วโมงต่อ ๓ ครั้ง คือ เวลากลางวัน ตอนบ่ายขณะนั่งภาวนาครั้งหนึ่ง ตอนก่อนนอนครั้งหนึ่ง ตอนตื่นนอนครั้งหนึ่ง ส่วนการแผ่เมตตาปลีกย่อยประจำนิสัยนั้น มิได้นับอ่านว่าวันหนึ่งกี่สิบครั้ง และท่านกล่าวถึงอานุภาพของการสวดมนต์ไหว้พระว่า พุทธมนต์นั้นใครสวดก็ตามจะเป็นกิจวัตรของพระสงฆ์ เช้า-เย็น หรือชาวพุทธทุกคนสวดพุทธคุณ:

·  ระลึกในใจ                   มีอานุภาพแผ่ไปได้หมื่นจักรวาล

·  พูดหรือออกเสียงพอฟังได้   มีอานุภาพแผ่ไปได้แสนจักรวาล

·  สวดมนต์เช้า-เย็นธรรมดา   มีอานุภาพแผ่ไปได้แสนโกฏิจักรวาล

·  สวดเต็มเสียง สุดกู่            มีอานุภาพแผ่ไปได้อนันตจักรวาล

·   แม้สัตว์ที่อาศัยอยู่ในสามภพและที่สุดอเวจี มหานรก ยังได้รับความสุข

เมื่อแว่วเสียงพุทธมนต์ ผ่านลงไปชั่วขณะหนึ่งครู่หนึ่ง ดีกว่าหาความสุขไม่ได้เลยตลอดกาล (จาก“ประวัติท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ” โดยหลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน “รําลึกวันวาน”โดยหลวงตาทองคํา จารุวฺณโณ)

  

2

คํานมัสการพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,

พระผู้มีพระภาคเจ้า, เป็นพระอรหันต์ , ดับเพลิงกิเลส, เพลิงทุกข์สิ้นเชิง

ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง.

พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.   (กราบ)

ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้, ผู้ตื่น, ผู้เบิกบาน

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,

พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว,

ธัมมัง นะมัสสามิ.   (กราบ)

ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม.

สุปะฏิปันโน ภะคะวาโต สาวะกะสังโฆ,

พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว,

สังฆัง นะมามิ.      (กราบ)

ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์.

 

3

ชุมนุมเทวดา

สะมันตา จักกะวาเฬสุ       อัต์ราคัจฉันตุ เทวะตา,

ขอเชิญเทพยดาในรอบจักรวาลทั้งหลาย  จงมาประชุมพร้อมกันในสถานที่นี้

สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ        สุณันตุ สัคคะโมกขะทัง,

จงฟังซึ่งพระสัทธรรม อันให้สวรรค์ และนิพพาน ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นเจ้าแห่งมุนี

สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน,

ขอเชิญเหล่าเทวดา ซึ่งสถิตย์อยู่ในสวรรค์ ชั้นกามภพก็ดี รูปภพก็ดี และภุมมเทวดา ซึ่งสถิตอยู่ในวิมานหรือยอดภูเขา และหุบผา ในอากาศก็ดี

ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุม์หิ เขตเต.

ในเกาะก็ดี ในแว่นแคว้นก็ดี ในบ้านก็ดี  ในต้นพฤกษา และป่าชัฎก็ดี ในเรือนก็ดี ในที่ไร่ที่นาก็ดี

ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา,

เทพยดาทั้งหลาย ซึ่งสถิตตามภาคพื้นดิน รวมถึงยักษ์ คนธรรพ์และพญานาคซึ่งสถิตอยู่ในน้ำ บนบก และที่อันไม่เรียบราบก็ดี 

ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ.

ซึ่งอยู่ในที่ใกล้เคียง จงมาประชุมพร้อมกันในที่นี้ คำใดเป็นของพระมุนีผู้ประเสริฐ ท่านสาธุชนทั้งหลาย จงสดับคำข้าพเจ้านั้น ดูก่อนท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม

พุทธัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา

ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา

สังฆะปะยิรุปาสะวะนะกาโล  อะยัมภะทันตา.

 

 

4

ปุพพะภาคะนะมะการะ

(นํา) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะเส.

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น,

อะระหะโต,               ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส,

สัมมาสัมพุทธัสสะ.      ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง. ( กล่าว ๓ ครั้ง )

 

สะระณะคะมะนะปาฐะ

(นํา) หันทะ มะยัง ติสะระณะคะมะนะปาฐัง ภะณามะ เส.

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าถือเอาพระพุทเจ้า เป็นสรณะ,

ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าถือเอาพระธรรม เป็นสรณะ,

สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าถือเอาพระสงฆ์ เป็นสรณะ,

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าถือเอาพระพุทเจ้า เป็นสรณะ,

ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าถือเอาธรรม เป็นสรณะ,

ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าถือเอาพระสงฆ์เป็นสรณะ,

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าถือเอาพระพุทธเจ้า เป็นสรณะ,

ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าถือเอาธรรม เป็นสรณะ,

ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าถือเอาพระสงฆ์เป็นสรณะ,

 

5

 

พระคาถา อุณหิสสะวิชะยะ
อัตถิ อุณหิสสะ วิชะโย       ธัมโม โลเก อะนุตตะโร

สัพพะสัตตะหิ ตัตถายะ         ตังตวัง คัณหาหิ เทวะเต

ปะริวัชเช ระชะทัณเฑ             อะมะนุสเสหิ ปาวะเก

พะยัคเฆ นาเค วิเส ภูเต      อะกาละมะระเณนะ วา
สัพพัสมา มะระณา มุตโต     ฐะเปตวา กาละมาริตัง

ตัสเสวะ อานุภาเวนะ              โหตุ เทโว สุขี สะทา

สุทธะสีลัง สะมาทายะ            ธัมมัง สุจะริตัง จะเร
ตัสเสวะ อานุภาเวนะ              โหตุ เทโว สุขี สะทา
ลิกขิตัง จินติตัง ปูชัง               ธาระนัง วาจะนัง คะรุง

ปะเรสัง เทสะนัง สุตวา           ตัสสะ อายุ ปะวัฑฒะตีติ.

 

พระคาถาบทนี้ อยู่ในสมัยพุทธกาล    ที่พระพุทธเจ้าได้ทรงเมตตาให้เทวดาองค์หนึ่งที่กำลังหมดอายุขัย จะต้องลงไปเสวยกรรมในนรก แต่เทวดาองค์นี้มีความกลัวมากที่จะต้องลงไปเกิดใน เมืองนรกจึงดิ้นรนทุกวิถีทาง ที่จะไม่ไปแต่ก็ไม่มีใครจะช่วยเหลือได้ แม้แต่องค์พระอินทร์ แต่ยังโชคดีที่ได้พบพระพุทธเจ้า และทรงแนะให้ภาวนาคาถาบทนี้ จะได้มีอายุยืนยาวนานต่อไป เพื่อที่จะได้ใช้เวลาที่เหลืออยู่นี้ บำเพ็ญภาวนา ใช้หนี้กรรมที่มีอยู่ ให้หมดไป พระคาถาบทนี้ จึงมีพุทธานุภาพมาก ในเรื่องของการมีอายุยืนยาวและยังทำให้สุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บไข้ได้ป่วยอย่างง่ายๆ อีกด้วย ผู้ที่มีสุขภาพไม่ดี หรือขี้โรค หรือป่วยเป็นโรคที่รักษายากแล้ว ควรหมั่นท่องภาวนาเป็นประจำ จะหายได้โดยเร็ววัน

 

6

 

โพชฌังคปริตร

โพชฌังโค สะติสังขาโต       ธัมมานัง วิจะโย ตะถา,
วิริยัมปีติ ปัสสัทธิ                 โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร.
สะมาธุเปกขะโพชฌังคา       สัตเตเต สัพพะทัสสินา,

มุนินา สัมมะทักขาตา            ภาวิตา พะหุลีกะตา.
สังวัตตันติ อะภิญญายะ        นิพพานายะ จะ โพธิยา,

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ          โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.
เอกัสมิง สะมะเย นาโถ        โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง, 

คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา           โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ.
เต จะ ตัง อะภินันทิตวา        โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ,

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ          โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.

เอกะทา ธัมมะราชาปิ           เคลัญเญนาภิปีฬิโต,
จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ        ภะณาเปตวานะ สาทะรัง,

สัมโมทิตวา จะ อาพาธา       ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ           โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.
ปะหีนา เต จะ อาพาธา          ติณณันนัมปิ มะเหสินัง,

มัคคาหะตะกิเลสาวะ             ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง,

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ        โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.

 

 

7

 

ทิพยมนต์  (สวดธาตุ)

ของ  พระสุทธิธรรมรังสีคัมภีรเมธาจารย์ (ท่านพ่อลี ธมฺมธโร)

(สวดให้คนไข้ฟัง หรือในงานทําบุญสะเดาะเคราะห์ ต่อชะตาอายุ)

สวดมนต์ด้วยพระพุทธคุณ ตั้งธาตุทั้ง ๖

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (๓ จบ)

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น

ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ได้โดยพระองค์เอง

พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.

ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุ

จนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก

ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.

ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุ

จนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก    
สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.

ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์  ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุ

จนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก

ทุติยัมปิ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.

ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุ

จนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง 

ทุติยัมปิ ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.

ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุ

จนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง       
ทุติยัมปิ สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.

ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ ผู้เป็น(อุดมมงคล)แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุ

จนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง

ตะติยัมปิ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.

ข้าพเจ้า ขอถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็น (อุดมมงคล) แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุ

จนกระทั่งพระนิพพานว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม

ตะติยัมปิ ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.

ข้าพเจ้า ขอถึงพระธรรม ผู้เป็น (อุดมมงคล) แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุ

จนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม      
ตะติยัมปิ สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.

ข้าพเจ้า ขอถึงพระสงฆ์  ผู้เป็น (อุดมมงคล) แห่งชีวิต ผู้ให้เจริญแห่งคุณคืออายุ

จนกระทั่งพระนิพพาน ว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม

 

8

 

หมวดธาตุลม ๓ ข้อ ดังนี้

๑. วาโย จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ,

วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,

สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหสมมาสมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)

๒.วาโย จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,

โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ

(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสมปนโน พระปัญญาคุณ)

๓.วาโย จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต

 

 

9

 

สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สตถา เทวมนุสสานพระกรุณาคุณ)

ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ, สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ,

อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,

อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง, อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหังฯ

 

หมวดธาตุไฟ ๓ ข้อ ดังนี้
๑.เตโช จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

 

10

 

อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,

สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรห สมมาสมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)

๒.เตโช จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,

สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,

โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ

(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสมปนโนพระปัญญาคุณ)

๓.เตโช จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,

เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย,

อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สตถา เทวมนุสสานพระกรุณาคุณ)

ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ,สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง

 

 

11

 

ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,

อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง, อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหังฯ

 

หมวดธาตุนํ้า ๓ ข้อ ดังนี้
๑. อาโป จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ,

วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,

สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรห สมมาสมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)

๒.อาโป จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,

สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,

โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ

(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสมปนโน พระปัญญาคุณ)

๓.อาโป จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

 

12

 

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สตถา เทวมนุสสานพระกรุณา

คุณ)

ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ, สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,

อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง, อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหังฯ

 

13

หมวดธาตุดิน ๓ ข้อ ดังนี้

๑.ปะฐะวี จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ,

วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,

สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรห สมมาสมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)

๒.ปะฐะวี จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,

สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,

โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ

(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสมปนโน พระปัญญาคุณ)

๓.ปะฐะวี จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,

เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย,

อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สตถา เทวมนุสสานพระกรุณาคุณ)

ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ,สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง,

 

14

 

เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,

อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง, อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหังฯ

 

หมวดอากาศธาตุ ๓ ข้อ ดังนี้

๑. อากาสา จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหสมมาสมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)

๒.อากาสา จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,

โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ

 

15

(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสมปนโนพระปัญญาคุณ)

 

๓.อากาสา จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,

เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย,

อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สตถา เทวมนุสสาน พระกรุณาคุณ)

 

ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ,สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,

อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง, อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวานะมามิหังฯ

 

 

16

 

หมวดวิญญาณธาตุ ๓ ข้อ ดังนี้

๑.วิญญาณัญจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ,

วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,

สัตถา เทวามะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์-อรหสมมาสมพุทโธ พระบริสุทธิคุณ)

๒.วิญญาณัญจะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,

สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,

โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ

(ให้ระลึกถึงพระสารีบุตรผู้มีปัญญา-วิชชาจรณสมปนโนพระปัญญาคุณ)

๓.วิญญาณัญ จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง,

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,

เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระนีโย,

อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

(ให้ระลึกถึงพระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์-สตถา เทวมนุสสานพระกรุณาคุณ)

ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ,สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง,

 

17

 

เมตตา กรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุทิสัง ผะริตตะวา วิหะระติ, สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ,

อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง, อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหังฯ

 

gfgfgfggfgf

 

 

 

 


** ท่านผู้เข้าชมทุกท่านโปรดทราบ
    เนื่องจากกัณฑ์เทศน์บางกัณฑ์มีความยาวค่อนข้างมาก ซึ่งจะส่งผลต่อความเร็วในการเปิดเว็บไซต์ ขอแนะนำให้ทุกท่านได้อ่านเนื้อหากัณฑ์เทศน์บางส่วนจากเว็บไซต์ และให้ทำการดาวน์โหลดไฟล์กัณฑ์เทศน์ที่มีนามสกุล .pdf ไปเก็บไว้ในเครื่องของท่านแทนการอ่านเนื้อหาทั้งหมดจากเว็บไซต์

<< BACK

หน้าแรก